SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
ชือโครงงาน สาวใช้ ไฮเทค
   วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ



             จัดทําโดย
    นายวิชญะ พรประสาท เลขที 2
   นายพีระพงษ์ หลุยบุญเป็ ง เลขที 24
     นายธีรศักดิ" สุ ยะวา เลขที 37
        ชั%นมัธยมศึกษาปี ที 6/13



                เสนอ
        ครู เขือนทอง มูลวรรณ




     ภาคเรียนที 2 ปี การศึกษา 2555
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
บทที1

                                                    บทนํา

ทีมาและความสํ าคัญ

                                                          ั
    ปั จจุบนเราทุกคนในสังคมต่างมีความเกี ยวข้องกับสารเคมีกนทุกๆวัน ตั%งแต่เราเริ มตื นนอนจนถึ งเข้า
           ั
                                                                  ่
นอน รวมไปถึงการดําเนิ นชี วิตในหนึ งวันทีมีสารเคมีมาเกียวข้อง ไม่วาจะเป็ นการแปรงฟั นในตอนเช้า การ
ดื มนมในตอนเย็น การล้างจาน ก็ลวนแล้วแต่มีสารเคมีมาเกี ยวข้องทั%งนั%น ดังนั%นเมื อทุ กคนหลี กเลี ยงสาร
                              ้
เหล่านี%ไม่ได้ก็ยอมเจอปั ญหาโรคต่างๆ โดยเฉพาะผูทีต้องเผชิญกับสารเคมีทุกๆวันในขณะทีเรา ล้างจาน จาก
                 ่                             ้
ความสําคัญนี% ทางผูจดทําจึงได้จดตั%งทําโครงงาน เรื อง สาวใช้ไฮเทค เพือทีเราจะสามารถลดอัตราการเผชิ ญ
                   ้ั          ั
กับสารเคมีในขณะทีล้างจาน อีกทั%งยังเป็ นการนําสิ งทีเราไม่ใช่แล้ว คือ ขี%เถ้า นํากลับมาใช้อีกครั%ง และยังเป็ น
การนําทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้

วัตถุประสงค์

1.เพือศึกษาวิธีการทํา นํ%ายาล้างจานจากขี%เถ้า

2.นําสิ งทีเราไม่ใช้แล้วกลับมาใช้อีกครั%งและเป็ นประโยชน์ลดการเสี ยงการใช้สารเคมีในขณะทีล้างจาน

ปัญหา

      ขี%เถ้า สามารถนํามาทําเป็ นนํ%ายาล้างจานได้

สมมติฐาน
   ขี%เถ้า สามารถนํามาทํานํ%ายาล้างจานได้ และลดอัตราการเผชิ ญการใช้สารเคมีในขณะทีล้างจาน

ตัวแปรทีต้ องศึกษา

ตัวแปรต้น ขี%เถ้า

ตัวแปรตาม นํ%ายาล้างจาน

ตัวแปรควบคุม มะนาว นํ%า กระดาษลิตมัส ระยะเวลา
ระยะเวลา

  ตั%งแต่วนที 1 กุมภาพันธ์ 2556 - 21 กุมภาพันธ์ 2556
          ั



งบประมาณ

   120 บาท

ขอบเขตการศึกษา

  นํ%ายาล้างจาน คือ นํ%ายาทีทํามาจาก ขี%เถ้า
บทที 2

                                             เอกสารอ้ างอิง

ขีเ4 ถ้ า

     ลักษณะขี4เถ้ าหลังเผา ลักษณะของขี%เถ้าหลังจากเผาจะมี ลกษณะเป็ นทั%งผงสี เทาดําและเป็ นก้อนตาม
                                                           ั
ลักษณะพืชทีนํามาเผา

       โซเดียมคาร์ บอเนต หรื อ โซดา แอช สู ตรเคมี คือ Na2CO3 เป็ นสารประกอบเกลื อของกรดคาร์ บอนิ ก มี
ลักษณะเป็ นผงสี ขาว ไม่มีกลิ น สามารถดูดความชื% นจากอากาศได้ดี ละลายได้ในนํ%า มีฤทธิ" เป็ นด่างแก่เมือ
ละลายนํ%า ละลายได้เล็กน้อยในแอลกอฮอล์ พบในขี% เถ้าของพืชหลายชนิ ดและสาหร่ ายทะเล (จึ งได้ชือว่า
โซดา แอช เนื องจาก แอช ในภาษาอังกฤษ หมายถึ ง ขี%เถ้า) เป็ นสารเคมี ทีใช้ใ นอุ ตสาหกรรมหลายชนิ ด
เช่น แก้ว เซรามิคส์ กระดาษ ผงซักฟอก สบู่ การแก้ไขนํ%ากระด้าง

          โซเดี ยมคาร์ บ อเนต พบได้ในธรรมชาติ ในเขตแห้งแล้ง โดยเฉพาะอย่างยิงในแหล่ งแร่ ที เกิ ดจาก
ทะเลสาบที ระเหยแห้งไป ในสมัยอี ยิปต์โบราณ มี การขุดแร่ ทีเรี ยกว่า เนทรอน (natron) (ซึ งเป็ นเกลื อที
ประกอบด้วยโซเดียมคาร์ บอเนต (หรื อ โซดา แอช) และโซเดียมไบคาร์ บอเนต (เบกกิ%ง โซดา) และมีโซเดียม
คลอไรด์ (เกลื อแกง) และโซเดี ย มซัล เฟต ปนอยู่เล็ กน้อย) จากก้นทะเลสาบที แห้ง ใกล้แม่ น% ําไนล์ และ
นํามาใช้ในการทํามัมมี ใน ปี พ.ศ. 2481 (ค.ศ. 1938) พบแหล่งแร่ โซเดี ยมคาร์ บอเนตขนาดใหญ่ใกล้แม่น% า ํ
กรี นริ เวอร์ มลรัฐไวโอมิง สหรัฐอเมริ กา ทําให้สหรัฐขุดแร่ มาใช้แทนการผลิตทางกรรมวิธีทางเคมี
         ในประเทศอืน ๆ การผลิ ตโซเดียมคาร์ บอเนตทําโดยกรรมวิธีทางเคมีทีเรี ยกว่า กระบวนการโซลเวย์
(Solvay process) ซึ งค้นพบโดย เออร์ เนส โซลเวย์ นักอุตสาหกรรมเคมีชาวเบลเยียม ในปี พ.ศ. 2404 (ค.ศ.
1861) โดยเปลี ยน โซเดียมคลอไรด์ (นํ%าเกลื อ) เป็ น โซเดี ยมคาร์ บอเนต โดยใช้ แอมโมเนี ย และ แคลเซี ยม
คาร์ บอเนต (หิ นปูน) และสารที เหลื อจากกระบวนการมี เพียง แคลเซี ยมคลอไรด์ ซึ งไม่เป็ นพิษแม้ว่าอาจ
ก่อให้เกิดความระคายเคืองได้ และ แอมโมเนี ยนั%นยังสามารถนํากลับมาใช้ได้อีก ทําให้กระบวนการโซลเวย์
มีตนทุนการผลิ ตทีตํากว่ากรรมวิธีแบบเดิ มมาก จึงถูกนํามาใช้ในอุตสาหกรรมการผลิ ตโซเดี ยมคาร์ บอเนต
    ้
อย่างแพร่ หลาย ในคริ สต์ศตวรรษ 1900 โซเดี ยมคาร์ บอเนต 90% ที ผลิ ต ใช้วิธีการนี% และยังคงใช้อยู่ใน
ปั จจุบน
       ั
       เดิ มนั%นการผลิ ตโซเดี ยมคาร์ บอเนตทําโดยกระบวนเคมี ทีเรี ยกว่า กระบวนการเลอบลังก์ (Leblanc
process) ซึ งค้นพบโดยนักเคมี ชาวฝรังเศส ชื อ นิ โคลาส เลอบลังก์ ในปี พ.ศ. 2334(ค.ศ. 1791) โดยใช้
โซเดี ยมคลอไรด์ (เกลือแกง) กรดซัลฟูริก (กรดกํามะถัน) แคลเซี ยมคาร์ บอเนต (หิ นปูน) และถ่าน แต่กรด
ไฮโดรคลอริ ค (กรดเกลื อ) ทีเกิ ดจากกระบวนการนี% ทําให้เกิ ดมลพิษทางอากาศ และแคลเซี ยมซัลไฟด์ ที
เหลือจากกระบวนการทําให้เกิดปั ญหาต่อสิ งแวดล้อม แต่เนืองจากโซเดียมคาร์ บอเนตเป็ นสารเคมีพ%ืนฐานใน
อุตสาหกรรมหลายชนิ ด ทําให้มีการผลิตโซเดี ยมคาร์ บอเนตโดยกรรมวิธีน% ี และเป็ นกรรมวิธีหลักมาจนถึ ง
ช่วงปี พ.ศ. 2423 - 2433 (ช่วง ค.ศ. 1880 - 1890) หลังการค้นพบกระบวนการโซลเวย์ กว่า 20 ปี โรงงานผลิต
แคลเซี ยมคาร์ บอเนตทีใช้กระบวนการ เลอบรังค์แห่งสุ ดท้ายปิ ดลงในช่วงปี พ.ศ. 2463 (ค.ศ. 1920)

ข้ อระวัง

   •    การกลืนหรื อกิน อาจทําให้เกิดความระคายคอ วินเวียนศีรษะ
   •    การหายใจ สู ดดม ก่อให้เกิดอันตราย ควรหลีกเลียง โดยเฉพาะอย่างยิงการได้รับเป็ นเวลานาน
   •    การสัมผัสทางผิวหนัง ก่อให้เกิดความระคายเคือง อาจเกิดอาการแสบไหม้ หากเข้าตา จะเกิดอาการ
       ระคายเคืองอย่างรุ นแรง เป็ นอันตราย

ประโยชน์

        ใช้ทาความสะอาดภาชนะหรื อเครื องใช้ในครัว
            ํ

อาการเมือเป็ นพิษ

            ความเป็ นพิษของสารนี% ต่อมนุ ษย์จดว่าเป็ นพิษน้อย โดยทัวไปอาจก่อให้เกิ ดอาการระคายเคืองต่อ
                                             ั
ผิวหนัง หรื อตาได้เล็กน้อย ในการทดลองการก่อการระคายเคืองของสารนี% ต่อผิวหนังและตาในกระต่าย
พบว่าสารนี% สามารถก่อให้เกิ ดการระคายเคืองทีตาได้ในความเข้มข้น 5% ส่ วนทีผิวหนังต้องใช้ในความ
เข้ม ข้นที สู งประมาณ 47-50% ส่ วนความเป็ นพิ ษเมื อรั บ ประทานนั%น ต้องได้รับ สารนี% ในความเข้มข้น
มากกว่า 65%3 และจากการทดลองในหนูพบว่าปริ มาณสารมากทีสุ ดทียังปลอดภัยเมือรับประทาน คือ 85
มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมต่อวัน4 อาการเป็ นพิษทีพบได้ในหนูจะพบความผิดปกติ ดังนี% เดินโซเซ ขนตั%งชัน การ
หายใจลดลง ง่วงซึ ม หนังตาตก ท้องเสี ย เป็ นต้น

การวินิจฉัย

      กรณี รับประทาน หากรับประทานในปริ มาณไม่มากจะไม่พบอาการผิดปกติ แต่เมือได้รับใน
ปริ มาณมากอาจมีอาการเจ็บปากและลิ%น คลืนไส้อาเจียนท้องเสี ยกรณี เข้าตา ทําให้รู้สึกระคายเคือง ปวดแสบ
ทีตา
การปฐมพยาบาล
      กรณี รับประทาน ห้ามทําให้อาเจียน ให้รีบดืมนํ%าหรื อนมมาก ๆ เพือลดการดูดซึ ม แล้วรี บนําผูป่วย
                                                                                               ้
ส่ งแพทย์ทนที
          ั

    กรณี เข้าตา ให้รีบล้างตาด้วยนํ%ามาก ๆ จนอาการระคายเคืองตาหายไป หากไม่ดีข% ึนควรนําผูป่วยพบ
                                                                                        ้
แพทย์

นํา
  4

         นํ4า เป็ นของเหลวชนิ ดหนึ ง ที มี อยู่มากที สุ ดบนผิวโลก และเป็ นปั จจัยสําคัญต่อการดํา รงชี วิตของ
สิ งมี ชีวิตทุ กชนิ ดที มนุ ษย์รู้จก เราสามารถพบนํ%าได้ในหลายๆ สถานที อาทิ ทะเล ทะเลสาบ แม่น% า ห้วย
                                   ั                                                                   ํ
หนอง คลอง บึง และในหลายๆ รู ปแบบ เช่น นํ%าแข็ง หิ มะ ฝน ลูกเห็บ เมฆ และไอนํ%า

      นํ%ามีรูปแบบและสถานะเป็ นของเหลว แต่น% าก็ยงมีในรู ปของสถานะของแข็งทีเรี ยกว่านํ%าแข็ง และ
                                                   ํ ั
สถานะแก๊สทีเรี ยกว่าไอนํ%า นํ%าปริ มาณประมาณ 1.460 เพตะตัน ปกคลุ ม 71% บนพื%นผิวโลก ส่ วนมากใน
มหาสมุ ท รและในแหล่ ง นํ%า แห่ ง ใหญ่ ท วไป นํ%า 1.6% อยู่ภายใต้หินหรื อพื% นดิ นที ยัง มี น% า แข็ง อยู่ และอี ก
                                        ั                                                     ํ
           ่
0.001% อยูในอากาศในรู ปแบบของไอนํ%าและก้อนเมฆซึ งเป็ นลักษณะของส่ วนของของแข็งและของเหลว
ลอยอยู่บ นอากาศและเกิ ด การตกตะกอน[1] นํ%า บนโลกบางส่ วนถู ก บรรจุ ล งในสิ งของต่ า ง ๆ ที เกิ ดโดย
ธรรมชาติและทีมนุ ษย์สร้ างขึ%นบนโลก อย่างเช่ น อ่างเก็บนํ%า ในร่ างกายของสัตว์และพืช ผลิ ตภัณฑ์ต่าง ๆ
และร้านอาหาร

         นํ%าในมหาสมุ ทรมีอยู่มากถึ ง 97% ของพื%นผิวนํ%าทั%งหมดบนโลก ธารนํ%าแข็งและนํ%าแข็งขั%วโลกอี ก
2.4% และที เหลื อคื อนํ%า ที อยู่บนพื%นดิ นเช่ น แม่ น% า ทะเลสาบ บ่ อนํ%า อี ก 0.6% นํ%าเคลื อนที อย่า งต่ อเนื อง
                                                        ํ
ผ่านวัฏจักรของการกลายเป็ นไอหรื อการคายนํ%า การตกลงมาเป็ นฝน และการไหลของนํ%าซึ งโดยปกติจะไหล
ไปสู่ ท ะเล ลมเป็ นตัวพาไอนํ%า ผ่านหนื อพื% นดิ นในอัตราที เท่า ๆ กันเช่ นเดี ยวกับ การไหลออกสู่ ทะเล นํ%า
บางส่ วนถูกกักขังไว้เป็ นเวลาหลายยุคหลายสมัยในรู ปแบบของนํ%าแข็งขั%วโลก ธารนํ%าแข็ง นํ%าทีอยู่ตามหิ น
หรื อดิ น หรื อในทะเลสาบ บางครั%งอาจมีการหานํ%าสะอาดมาเลี%ยงสิ งมีชีวิตบนพื%นดิ น นํ%าใสและสะอาดนั%น
เป็ นสิ งจําเป็ นต่อมนุษย์และสิ งมีชีวตอืน ๆ
                                      ิ

       นํ%า มี ส มบัติเป็ นตัวทําละลายที ดี ม าก เราจึ ง ไม่ ค่อยพบนํ%า บริ สุท ธิ" ในธรรมชาติ ดังนั%นนํ%า สะอาดที
เหมาะสมต่อการบริ โภคของมนุ ษย์จึงเป็ นทรัพยากรทีมีค่ายิง ในบางประเทศปั ญหาการขาดแคลนนํ%าเป็ น
ปั ญหาใหญ่ทีส่ งผลกระทบต่อสังคม และเศรษฐกิจของประเทศนั%นอย่างกว้างขวาง
การตกกระแทกของหยดนํา
                   4

        นํ%ามีหลายรู ปแบบ เช่ น ไอนํ%าและเมฆบนท้องฟ้ า คลื นและก้อนนํ%าแข็งในทะเล ธารนํ%าแข็งบนภูเขา
นํ%าบาดาลใต้ดิน ฯลฯ นํ%าเปลียนแปลงรู ปแบบ สถานะ และสถานทีของมันตลอดเวลา โดยผ่านกระบวนการ
กลายเป็ นไอ ตกลงสู่ พ%ืนดิ น ซึ ม ชะล้าง และไหล ก่อให้เกิ ดการหมุนเวียนของนํ%าบนผิวโลกเรี ยกว่าวัฏจักร
ของนํ%า

        เนื องจากการตกลงมาของนํ%ามีความสําคัญอย่างยิงต่อการเกษตรและต่อมนุ ษย์โดยทัวไป มนุ ษย์จึง
เรี ยกการตกลงมาของนํ%าแบบต่างๆ ด้วยชือเฉพาะตัว ฝน ลูกเห็บ หมอก และนํ%าค้างเป็ นการตกลงมาของนํ%าที
พบได้ทวโลก แต่หิมะและนํ%าค้างแข็งมีเฉพาะในประเทศเขตหนาว รุ ้งเป็ นปรากฏการณ์ทีเกิดขึ%นเมือละออง
         ั
นํ%าในอากาศต้องแสงอาทิตย์ในมุมทีเหมาะสม

       นํ%ามีความสําคัญต่อมนุ ษย์ไม่แพ้การตกลงมาของนํ%า มนุ ษย์ใช้การชลประทานผันนํ%าจากแม่น% าและ
                                                                                               ํ
แหล่ งนํ%าจื ดอื นๆ มาใช้ในการเกษตร แม่น% าและทะเลเป็ นเส้ นทางคมนาคมสําคัญที เปิ ดโอกาสมนุ ษย์ไ ด้
                                           ํ
ท่องเทียวและทําการค้าขาย การชะล้างและการกัดกร่ อนพื%นดินของนํ%าทําให้เกิดภูมิประเทศ อาทิ หุ บเขาและ
สามเหลี ยมปากแม่น% า ซึ งเป็ นทีราบทีมีดินอุ ดมสมบูรณ์ เหมาะสมแก่การเพาะปลูกและการตั%งถิ นฐานของ
                      ํ
มนุษย์

      นํ%ายังซึ มผ่านดินลงสู่ ทางนํ%าใต้ดิน นํ%าใต้ดินเหล่านี% จะไหลกลับไปอยูเ่ หนื อพื%นดินทางธารนํ%า หรื อใน
บางภูมิประเทศเป็ นธารนํ%าร้อนหรื อนํ%าพุร้อน มนุษย์รู้จกนํานํ%าใต้ดินมาใช้โดยการสร้างบ่อนํ%า
                                                         ั

          เนื องจากนํ%าเป็ นตัวทําละลายพื%นฐาน สามารถละลายสารได้ ทั%ง 3 สถานะ ทั%ง ก๊าซ ของเหลว และ
ของแข็ง เพราะฉะนั%นเราจึ งหานํ%าบริ สุทธิ" ได้ยาก เพราะนํ%าทัวไปมี ก๊าซ เกลื อ และสารอื นๆละลายปนอยู่
ส่ วนมากทีพบคือ ออกซิ เจน คาร์ บอนไดออกไซด์ โซเดี ยมคลอไรด์ ซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ ฯ นํ%าจากแหล่ ง
                                                  ่
ต่างๆ จึงมีสี กลิน และรสต่างกันไป เพือความอยูรอด มนุ ษย์และสัตว์ได้พฒนาประสาทสัมผัสเพือแยกแยะ
                                                                         ั
นํ%าทีดื มได้และดื มไม่ได้ ยกตัวอย่างเช่ น สัตว์บกส่ วนมากจะไม่ดืมนํ%าทะเลทีมีรสเค็มและนํ%าในบึงทีมีกลิน
เน่าเหม็น แต่จะชอบนํ%าบริ สุทธิ"ทีมาจากนํ%าพุหรื อทางนํ%าใต้ดิน

คุณสมบัติทางเคมีและฟิ สิ กส์

                                                     ่
       นํ%าเป็ นสารเคมีชนิ ดหนึ งทีเขียนสู ตรเคมีได้วา H2O: นํ%า 1 โมเลกุลประกอบด้วยไฮโดรเจน 2 อะตอม
สร้างพันธะโควาเลนต์รอบออกซิ เจน 1 อะตอม

       คุณสมบัติหลักทางเคมีและฟิ สิ กส์ ของนํา
                                             4
•         นํ%าเป็ นของเหลวทีไม่มีรส ไม่มีกลิน ใสไม่มีสี ทีอุณหภูมิและความดันปกติ นํ%าแข็งก็ดูไม่มีสีเช่นกัน และ
    สําหรับนํ%าในสถานะแก๊สนั%นโดยปกติเราจะมองไม่เห็นมันเลย
•                                                                     ่
          นํ%าเป็ นของเหลวโปร่ งใส ดังนั%นพืชนํ%าจึงสามารถอยูในนํ%าได้เพราะมีแสงสว่างส่ องมันอย่างทัวถึง จะมี
    เพียงแสงอุลตร้าไวโอเลตและอินฟราเรดเท่านั%นทีจะถูกนํ%าดูดซับเอาไว้
•         นํ%ามีสถานะเป็ นของเหลวในสภาวะปกติ
•         นํ%า เป็ นโมเลกุล มี ข% ว เพราะว่าออกซิ เจนมี ค่า อิ เล็ ก โทรเนกาติ วิตี (Electronegativity: EN) สู งกว่า
                                  ั
    ไฮโดรเจน ออกซิ เจนมีข% วลบ ในขณะทีไฮโดรเจนมีข% วบวก แสดงว่านํ%าเป็ นโมเมนต์ข% วคู่ ปฏิกิริยาระหว่างขั%ว
                                    ั                             ั                             ั
    ของแต่ละโมเลกุลเป็ นเหตุให้เกิดแรงดึงดูดทีเชือมโยงกับมวลรวมของนํ%าของความตึงผิว
•         แรงยึดเหนียวสําคัญอืน ๆ ทีทําให้โมเลกุลของนํ%าเสี ยบเข้าสู่ อีกอันหนึงเรี ยกว่าพันธะไฮโดรเจน
•                                                             ่ ั
          จุดเดือดของนํ%า (รวมถึงของเหลวอืน ๆ) ขึ%นอยูกบความกดดันของบรรยากาศ ตัวอย่างเช่น บนยอดเขาเอ
    เวอเรสต์ นํ%าจะเดือดทีอุณหภูมิ 68 องศาเซลเซี ยส เปรี ยบเทียบกับ 100 องศาเซลเซี ยสทีระดับนํ%าทะเล ในทาง
    กลับกัน เขตนํ%าลึกในมหาสมุทรใกล้รอยแตกของเปลื อกโลกเนื องจากภูเขาไฟระเบิด อุณหภูมิอาจขึ%นเป็ น
    หลายร้อยองศาและยังคงสถานะเป็ นของเหลวเหมือนเดิม
•         นํ%า จะไหลเข้า หาตัวมันเอง นํ%า มี ค่ า ความตึ ง ผิวสู ง ซึ งเกิ ด จากการประสานกันอย่า งแข็ ง แรงระหว่า ง
    โมเลกุ ล ของนํ%า เพราะว่า มันมี ข% ว ความยืดหยุ่นที เห็ นได้ชัดเกิ ดจากค่ า ความตึ ง ผิวคอยควบคุ ม ให้ค ลื นมี
                                          ั
    ลักษณะเป็ นพริ% ว
•         นํ%ามีข% วแม่เหล็กจึงมีคุณสมบัติการยึดติดสู ง
                   ั
•         การแทรกซึ มของนํ%าตามรู เล็กกล่าวถึงแนวโน้มของนํ%าทีจะไหลอยู่ในหลอดเล็ก ๆ ซึ งต้านกับแรงโน้ม
    ถ่วง คุณสมบัติน% ีถูกพึงพาโดยพืชสี เขียวเช่นต้นไม้
•                                             ่
          นํ%าเป็ นตัวทําละลายทีดี เรี ยกได้วานํ%าเป็ น ตัวทําละลายสากล สามารถละลายสสารได้หลายชนิ ด สสารที
    ละลายกับนํ%าได้ดี เช่น เกลือ นํ%าตาล กรด ด่าง และแก๊สบางชนิ ด โดยเฉพาะออกซิ เจน คาร์ บอนไดออกไซด์
    เรี ยกว่า ไฮโดรฟิ ลิ ก หรื อสสารที ชอบนํ%า ขณะที สสารที ละลายนํ%าได้น้อยหรื อไม่ได้เลย เช่ น ไขมัน และ
    นํ%ามัน เรี ยกว่า ไฮโดรโฟบิก หรื อสสารทีไม่ชอบนํ%า
•         ทุกองค์ประกอบทีสําคัญในเซลล์ (โปรตีน ดีเอ็นเอ และ โพลีแซคคาไรด์) จะละลายได้ในนํ%า
•         นํ%าบริ สุทธิ" มีค่าการนําไฟฟ้ าทีตํา แต่ค่านี% จะเพิมขึ%นอย่างมีนยสําคัญกับปริ มาณของสารประกอบไอออ
                                                                              ั
    นิก เช่น โซเดียมคลอไรด์ ทีละลายอยูในนํ%า    ่
•         นํ%ามีค่าความร้อนจําเพาะสู งเป็ นอันดับ 2 ในบรรดาสสารทีรู ้ จก รองจากแอมโมเนี ย อีกทั%งยังมีค่าความ
                                                                                ั
    ร้อนแฝงของการกลายเป็ นไอสู งเช่ นกัน (40.65 กิโลจูลต่อโมล) ซึ งทั%งสองคุณสมบัติน% ีเป็ นผลมาจากพันธะ
    ไฮโดรเจนครอบคลุ มเป็ นบริ เวณกว้างระหว่างโมเลกุล คุ ณสมบัติทีไม่ธรรมดา 2 ประการนี% ช่วยทําให้น% า              ํ
    บรรเทาความรุ นแรงของสภาพภูมิอากาศบนโลกได้โดยการดูดซับอุณหภูมิทีผันผวนอย่างมากเอาไว้
•        ภาวะทีนํ%ามีความหนาแน่นสู งทีสุ ดคือทีอุณหภูมิ 3.98 องศาเซลเซี ยส[2] เป็ นคุณสมบัติทีไม่ปกติทีมีความ
    หนาแน่นลดลงไม่ใช่เพิมขึ%นของนํ%าเมือได้รับความเย็นจนเปลียนเป็ นสถานะของแข็ง (กลายเป็ นนํ%าแข็ง) ใน
    สถานะของแข็งนี%จะมีปริ มาตรเพิมขึ%น 9% ซึ งเป็ นสาเหตุของข้อเท็จจริ งทีนํ%าแข็งลอยนํ%าได้
•        สามารถแยกนํ%าออกเป็ นไฮโดรเจน และออกซิ เจน ได้โดยวิธีอิเล็กโตรไลสี ส
•        สารบางชนิด เช่น โซเดียม ลิเทียม แคลเซี ยม โพแทสเซี ยม เป็ นต้น เมือถูกนํ%าจะปล่อยแก๊สไวไฟออกมา
    หรื อมีปฏิกิริยาอย่างรุ นแรงกับนํ%า

    กระดาษลิตมัส
          อินดิเคเตอร์ คือ สารทีใช้ทดสอบความเป็ นกรด เบสของสารต่าง ๆ และสี ของสารนี% จะเปลียนไปเมือ
    ค่าความเป็ นกรด – เบสเปลียนไป

    กระดาษลิตมัส ซึ งมี 2 สี คือ กระดาษลิตมัสสี น% าเงินและสี แดงเมือทดสอบกับดินจะเกิดการเปลียนแปลงดังนี%
                                                   ํ
    - ดินเป็ นกรดจะเปลียนกระดาษลิตมัสสี น% าเงินเป็ นสี แดงแต่สีแดงไม่เปลียนแปลง
                                             ํ
    - ดินเป็ นเบสจะเปลียนกระดาษลิตมัสสี น% าเงินเป็ นสี แดงแต่สีแดงไม่เปลียนแปลง
                                           ํ
    - ดินเป็ นกลาง จะไม่เปลียนสี กระดาษลิตมัสทั%งสี น% าเงินและสี แดง
                                                       ํ

    มะนาว
            ในผลมะนาวมีน% ามันหอมระเหยถึง 7% แต่กลินไม่ฉุนอย่างมะกรู ด นํ%ามะนาวจึงมีประโยชน์สําหรับ
                          ํ
    ใช้เป็ นส่ วนผสมนํ%ายาทําความสะอาด เครื องหอม และการบําบัดด้วยกลิน (aromatherapy) หรื อนํ%ายาล้างจาน
    ส่ วนคุ ณสมบัติทีสําคัญ ทว่าเพิงได้ทราบเมือไม่ชานานมานี% (ราวคริ สต์ศตวรรษที 2) ก็คือ การส่ งเสริ มโรค
                                                   ้
    ลักปิ ดลักเปิ ด ซึ งเคยเป็ นปั ญหาของนักขายโรตีมาช้านาน ภายหลังได้มีการค้นพบว่าสาเหตุทีมะนาวสามารถ
    ช่วยป้ องกันโรคลักปิ ดลักเปิ ด เพราะในมะนาวมีไวตามินซี เป็ นปริ มาณมาก

            มะนาวมี ส่ วนประกอบของสารซิ โตรเนลลัล (Citronellal) ซิ โครเนลลิ ล อะซี เตต (Citronellyl
    Acetate) ไลโมนี น (Limonene) ไลนาลูล (Linalool) เทอร์ พีนีออล (Terpeneol) ฯลฯ รวมทั%งมีกรดซิ ตริ ค
    (Citric Acid) กรดมาลิค (Malic Acid) และกรดแอสคอร์ บิก (Ascorbic Acid) ซึ งถือเป็ นกรดผลไม้ (AHA :
    Alpha Hydroxy Acids) กลุ่มหนึง เป็ นทียอมรับว่าช่วยให้ผิวหน้าทีเสื อมสภาพหลุดลอกออกไป พร้อมๆ กับ
    ช่วยกระตุนการสร้างเซลล์ใหม่ๆ ช่วยให้รอยด่างดําหรื อรอยแผลเป็ นจางลง
             ้
ความเป็ นกรด – เบส

                                                                       ั
        กรด (Acid) หมายถึง สสารทีปล่อยประจุไฮโดรเนี ยม (H3O+) ให้กบสารละลาย ตัวอย่างเช่น เมือ
ผสมนํ%ากับกรดเกลือ ทําให้เกิด ประจุไฮโดรเนียม และประจุแคลเซี ยม ตามสู ตร H2O + HCl -> (H3O+) + Cl-
สสารทีเป็ นกรด ได้แก่ กรดกํามะถัน (H2SO4) นํ%าส้มสายชู (CH3COOH)

                                                                       ั
         เบส (Base) หมายถึ ง สสารทีปล่อยประจุ ไฮดรอกไซด์ (OH-) ให้กบสารละลาย ตัวอย่างเช่ น
โซเดียมไฮดรอกไซด์ เมือแตกตัวจะให้ประจุไฮดรอกไซด์ ตามสู ตร NaCL -> Na+ + OH- เมือโลหะไฮดรอก
ไซด์ละลายนํ%า มันจะปล่อยประจุไฮดรอกไซด์ออกมา เราเรี ยกว่า “ด่าง” (Alkali) สสารทีเป็ นเบส ได้แก่
ปูนซี เมนต์ (CaO) แอมโมเนีย (NH3)

ในการวัดความเป็ น กรด – เบส ในสารละลายนั%น เราใช้คาว่า “pH” เป็ นตัวบ่งชี% ตัว p ย่อมาจาคําว่า power
                                                          ํ
ซึ งมีความหมายในเชิงยกกําลัง ส่ วน H นั%นหมายถึง ความเข้มของประจุไฮโดรเจน pH มีค่าเป็ นตัวเลขตั%งแต่
0 – 14 สารประกอบทีมีค่า pH 5 มีประจุไฮโดรเจนมากกว่า สารประกอบทีมีค่า pH 6 ถึง 10 เท่า นํ%าบริ สุทธิ"
มีค่า pH เป็ นกลางอยูที pH 7 นั%นหมายถึง นํ%า 1 ลิตร ทีอุณหภูมิ 25°C มีประจุไฮโดรเจน และประจุ ไฮดรอก
                     ่
         ่ํ
ไซด์ อยูจานวนเท่ากันคือ 1 x 10 –7 โมล

 pH มีค่าน้อย แสดงว่า สารประกอบนั%นมีความเป็ นกรดสู ง เช่น นํ%ามะนาวมี pH = 2.3

 pH มีค่ามาก แสดงว่า สารประกอบนั%นมีความเป็ นเบสสู ง เช่น นํ%ายาทําความสะอาดพื%นมี pH = 13


         สิ งมีชีวิตในนํ%าส่ วนมากมักอาศัยอยูในนํ%าทีมีค่า pH 6.5 – 9 โดยปกติน% าฝนตามธรรมชาติจะมีความ
                                             ่                                  ํ
เป็ นกรดเล็กน้อย เนืองจากการละลายก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ในอากาศ แต่ทว่าในเขตอุตสาหกรรมทีมีการ
ปล่อยก๊าซเสี ยออกมา จะทําให้เกิดสภาวะฝนกรด นํ%าฝนทีสะสมอยูในแหล่งนํ%าทําให้ค่า pH ตําลง เมือ pH ตํา
                                                                    ่
กว่า 5.5 ปลาจะตายหมด เมือ pH มีค่าตํากว่า 4 จะไม่มีสิงมีชีวิตใดทนทานได้เลย การศึกษาความเป็ นกรด –
เบส ของนํ%าจึงมีความสําคัญมากต่อการประมงและการเกษตร
บทที 3

                                  อุปกรณ์ และวิธีการทดลอง

วัสดุอุปกรณ์

1. ขี%เถ้า 6 ถ้วย

2. นํ%าเปล่า 12 ถ้วย

3. นํ%ามะนาวแท้ ¼ ถ้วย

4. ผ้ากรอง / ตะแกรงกรองสิ งสกปรก 1 ผืน

5. กระดาษวัดค่า Ph 12 แผ่น

  แผนการดําเนินงาน


             วัน / เดือน / ปี                   ขั4นตอนการดําเนินงาน
           2 กุมภาพันธ์ 2556        - กําหนดหัวข้อ/หัวเรื องทีต้องการศึกษา

           5 กุมภาพันธ์ 2556        - นําหัวข้อโครงงานไปขอคําปรึ กษาจากครู ทีปรึ กษา

           8 กุมภาพันธ์ 2556        - ศึกษา ค้นคว้า หาข้อมูล รายละเอียดทีเกียวข้องกับ
                                      โครงงาน

            9 กุมภาพันธ์ 2556       - แบ่งงานให้สมาชิกทุกคนในกลุ่ม

           17 กุมภาพันธ์ 2556       - ทํานํ%ายาล้างจานจากขี%เถ้า

          18 กุมภาพันธ์ 2556        - สรุ ปผลการทํานํ%ายาล้างจานจากขี%เถ้า

           20 กุมภาพันธ์ 2556       - จัดทําเป็ นรู ปเล่มโครงงาน
วิธีทาการทดลอง
     ํ

   1. ใช้น% า6 ถ้วย ผสมกับขี%เถ้า 4 ช้อนโต๊ะ ส่ วนคนให้เข้ากัน ปิ ดฝาทิ%งไว้ 3 วัน
            ํ

   2. ขี%เถ้าจะตกตะกอน ค่อยๆเทนํ%าส่ วนทีใส ใส่ ผากรอง
                                                 ้

   3. นํานํ%าขี%เถ้าทีกรองแล้ว ผสมกับนํ%ามะนาว คนให้เข้ากัน ใช้กระดาษวัดค่า PH ให้ได้ค่าเป็ น กลาง

     4. นํานํ%ายาล้างจานจากขี%เถ้ามาทดสอบกับจานทีมีคราบต่างๆทีเกิดจากเศษอาหาร แล้วสังเกตผลว่า จาน
มีลกษณะทีเปลียนแปลงขึ%นหรื อไม่ หากเปลียนแปลงแสดงว่าขี%เถ้ามีประสิ ทธิ ภาพในการล้างจานจริ ง
   ั
บทที 4
                                    ผลการทดลอง

ตารางการทดลอง

   คราบจากเศษอาหาร                                   ผลการทดลอง



   คราบไขมันจากไข่ เจียว    - จานใสขึน คราบไขมันลดลง เมือสั งเกตจากครั4งแรกทียังไม่ ได้ ล้าง
                                     4



     คราบครีมจากเค้ ก       - จานใสขึน คราบครีมลดลง เมือสั งเกตจากครั4งแรกทียังไม่ ได้ ล้าง
                                     4

คราบอืนๆ เช่ น คราบทีจาก
หม้ อต้ มแกง คราบทีติดจาก
                            - ภาชนะใสขึน คราบลดลง เมือสั งเกตจากครั4งแรกทียังไม่ ได้ ล้าง
                                       4
กระทะทีผัด เป็ นต้ น
บทที 5
                                         อภิปรายผลการทดลอง

อภิปรายผลการทดลอง
         การทดลองครั%งที 1 เมือล้างคราบไขมันในจาน ผลปรากฏว่าจานใสขึ%น คราบไขมันลดลง จากการ
สังเกตครั%งแรกทียังไม่ได้ลาง
                          ้
         การทดลองครั%งที 2 เมือล้างคราบครี มในจาน ผลปรากฏว่าจานใสขึ%น คราบครี มลดลง เมือสังเกต
จากครั%งแรกทียังไม่ได้ลาง
                       ้
          การทดลองครั%งที 3 เมือล้างคราบอืนๆ เช่น คราบทีจากหม้อต้มแกง คราบทีติดจากกระทะทีผัด
เป็ นต้นในจาน ผลปรากฏว่าจานใสขึ%น คราบลดลง เมือสังเกตจากครั%งแรกทียังไม่ได้ลาง้
         จาการทดลองผลปรากฏว่า จากการใช้น% ายาล้างจานจากขี%เถ้าช่วยชะล้างคราบทีติดตามภาชะต่างๆ
                                              ํ
ทีเกอดจากการต้ม การผัด การทอด เป็ นต้น ได้ดีกว่าการล้างคราบทีติดจานมากกว่า



สรุ ปผลการทดลอง
          จากาการทดลองสามารถสรุ ปได้ว่าเมื อขี% เถ้าทําปฎิ กิริยากับมะนาวจะทําให้ค่าที ได้มีสมบัติเป็ น
กลาง อีกทั%งยังมีประสิ ทธิ ภาพทีช่วยในการชะล้าง คราบต่างๆทั%ง คราบไขมัน ครี ม หรื อคราบทีเกิดจากการ
ต้ม ผัด ในกระทะ หม้อ เพราะในขี%เถ้ามีสารทีเรี ยกว่า Na2CO3 เป็ นสารประกอบเกลือของกรดคาร์ บอนิ ก มี
ลักษณะเป็ นผงสี ขาว ไม่มีกลิ น สามารถดูดความชื% นจากอากาศได้ดี ละลายได้ในนํ%า มีฤทธิ" เป็ นด่างแก่เมือ
ละลายนํ%า ละลายได้เล็กน้อยในแอลกอฮอล์ มีประโยชน์ในการทําความสะอาดภาชนะภายในครัวเรื อนและ
เมือทําปฏิกิริยากับมะนาวซึ งมี ส่ วนประกอบของสารซิ โตรเนลลัล ซิ โครเนลลิล อะซี เตต ไลโมนี น ไลนาลูล
เทอร์ พีนีออล รวมทั%งมี กรดซิ ตริ ค กรดมาลิ ค และกรดแอสคอร์ บิก ซึ งถื อเป็ นกรดผลไม้ ที ช่ วยในการทํา
ความสะอาดให้มีประสิ ทธิ ภาพมากยิงขึ%น

ประโยชน์ ของการทํา สาวใช้ ไฮเทค
1.สามารถนําสิ งทีเราไม่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่อีกครั%ง
2.ได้ความรู ้เกียวกับการทํานํ%ายาล้างจาน
ภาคผนวก


1. ภาพอุปกรณ์ ในการทํา นํายาล้ างจานจาก ขีเ4 ถ้ า
                         4




        ขี%เถ้า                                       มะนาว




                  กระดาษลิตมัส                            ผ้ากรอง




                                               นํ%า
2.วิธีการทํา นํายาล้ างจานจาก ขีเ4 ถ้ า
               4




      เตรี ยม นํ%ามะนาว ¼ ถ้วย ขี%เถ้า 4 ช้อนโต๊ะ นํ%า 6 ถ้วย

.




1.ใช้น% า 6 ถ้วย ผสมกับขี%เถ้า 4 ช้อนโต๊ะ คนให้เข้ากัน
        ํ                                                       2. ขี%เถ้าจะตกตะกอน ค่อยๆเทนํ%าส่ วนทีใส
ปิ ดฝาทิ%งไว้ 3 วัน                                             ใส่ ผากรอง
                                                                       ้
3.นํานํ%าขี%เถ้าทีกรองแล้ว ผสมกับนํ%ามะนาว                    4.ใช้กระดาษวัดค่า PH ให้ได้ค่าเป็ น กลาง




                                  เทใส่ ขวด ได้ สาวใช้ ไฮเทค ทีสมบูรณ์
บรรณานุกรม



- (ออนไลน์).แหล่งทีมา : www.maceducation.com/e-knowledge/2412212100/14.htm . 12 กรกฎาคม
2555.

- จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี . 2555.(ออนไลน์).แหล่งทีมา : http://www.answers.com. 12 กรกฎาคม 2555.

- ( ออนไลน์ ).2555.แหล่งทีมา : www.watisan.com/wizContent.asp. 15 กรกฎาคม 2555.

- จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี . 2555.(ออนไลน์).แหล่งทีมา : www.il.mahidol.ac.th. 23 กรกาคม 2555.

More Related Content

Viewers also liked

โครงการ การออม
โครงการ การออมโครงการ การออม
โครงการ การออมzeenwine
 
โครงงานการทดลองน้ำอัดลม B
โครงงานการทดลองน้ำอัดลม  Bโครงงานการทดลองน้ำอัดลม  B
โครงงานการทดลองน้ำอัดลม BKM117
 
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์พัน พัน
 
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียนโครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียนSuwanan Thipphimwong
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดพัน พัน
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 

Viewers also liked (8)

โครงการ การออม
โครงการ การออมโครงการ การออม
โครงการ การออม
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานการทดลองน้ำอัดลม B
โครงงานการทดลองน้ำอัดลม  Bโครงงานการทดลองน้ำอัดลม  B
โครงงานการทดลองน้ำอัดลม B
 
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
 
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียนโครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
 
โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 

Similar to โครงงาน แบงค์

ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำJiraporn
 
การสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมการสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมSutisa Tantikulwijit
 
บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003bussayamas Baengtid
 
natural resources 201114
natural resources 201114 natural resources 201114
natural resources 201114 Issara Mo
 
นักสืบสายลม
นักสืบสายลมนักสืบสายลม
นักสืบสายลมTaweesak Poochai
 
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศสิงค์โปร์บูรณาการผ่านเว็บไซต์
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศสิงค์โปร์บูรณาการผ่านเว็บไซต์โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศสิงค์โปร์บูรณาการผ่านเว็บไซต์
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศสิงค์โปร์บูรณาการผ่านเว็บไซต์kai2910
 
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืน
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืนกลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืน
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืนfreelance
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำsedwong Pam
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำsedwong Pam
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำsedwong Pam
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำnunticha
 
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2sudsanguan
 
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์Ausa Suradech
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมkasarin rodsi
 
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่มโครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่มSudarat Sangsuriya
 

Similar to โครงงาน แบงค์ (20)

Global warmin-t
Global warmin-tGlobal warmin-t
Global warmin-t
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
การสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมการสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียม
 
บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)
 
บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003
 
natural resources 201114
natural resources 201114 natural resources 201114
natural resources 201114
 
นักสืบสายลม
นักสืบสายลมนักสืบสายลม
นักสืบสายลม
 
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศสิงค์โปร์บูรณาการผ่านเว็บไซต์
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศสิงค์โปร์บูรณาการผ่านเว็บไซต์โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศสิงค์โปร์บูรณาการผ่านเว็บไซต์
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศสิงค์โปร์บูรณาการผ่านเว็บไซต์
 
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืน
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืนกลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืน
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืน
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
อเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนืออเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนือ
 
อเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนืออเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนือ
 
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่มโครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
 

More from Aungkana Na Na

ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ เจ๋ง
ใบงาน   แบบสำรวจและประวัติของ เจ๋งใบงาน   แบบสำรวจและประวัติของ เจ๋ง
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ เจ๋งAungkana Na Na
 
ชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jeng
ชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jengชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jeng
ชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า JengAungkana Na Na
 
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์Aungkana Na Na
 
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์Aungkana Na Na
 
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์Aungkana Na Na
 
สร้างสรรค์ผลงานจากกระดาษหนังสือพิมพ์
สร้างสรรค์ผลงานจากกระดาษหนังสือพิมพ์สร้างสรรค์ผลงานจากกระดาษหนังสือพิมพ์
สร้างสรรค์ผลงานจากกระดาษหนังสือพิมพ์Aungkana Na Na
 
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงานใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงานAungkana Na Na
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8Aungkana Na Na
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7Aungkana Na Na
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6Aungkana Na Na
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5Aungkana Na Na
 
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาAungkana Na Na
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3Aungkana Na Na
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2Aungkana Na Na
 
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้Aungkana Na Na
 

More from Aungkana Na Na (20)

ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ เจ๋ง
ใบงาน   แบบสำรวจและประวัติของ เจ๋งใบงาน   แบบสำรวจและประวัติของ เจ๋ง
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ เจ๋ง
 
ชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jeng
ชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jengชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jeng
ชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jeng
 
11
1111
11
 
10
1010
10
 
9
99
9
 
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
 
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
 
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
 
คอมมิ้น
คอมมิ้นคอมมิ้น
คอมมิ้น
 
คอมมิ้น
คอมมิ้นคอมมิ้น
คอมมิ้น
 
สร้างสรรค์ผลงานจากกระดาษหนังสือพิมพ์
สร้างสรรค์ผลงานจากกระดาษหนังสือพิมพ์สร้างสรรค์ผลงานจากกระดาษหนังสือพิมพ์
สร้างสรรค์ผลงานจากกระดาษหนังสือพิมพ์
 
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงานใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
 
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
 

โครงงาน แบงค์

  • 1. ชือโครงงาน สาวใช้ ไฮเทค วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ จัดทําโดย นายวิชญะ พรประสาท เลขที 2 นายพีระพงษ์ หลุยบุญเป็ ง เลขที 24 นายธีรศักดิ" สุ ยะวา เลขที 37 ชั%นมัธยมศึกษาปี ที 6/13 เสนอ ครู เขือนทอง มูลวรรณ ภาคเรียนที 2 ปี การศึกษา 2555 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
  • 2. บทที1 บทนํา ทีมาและความสํ าคัญ ั ปั จจุบนเราทุกคนในสังคมต่างมีความเกี ยวข้องกับสารเคมีกนทุกๆวัน ตั%งแต่เราเริ มตื นนอนจนถึ งเข้า ั ่ นอน รวมไปถึงการดําเนิ นชี วิตในหนึ งวันทีมีสารเคมีมาเกียวข้อง ไม่วาจะเป็ นการแปรงฟั นในตอนเช้า การ ดื มนมในตอนเย็น การล้างจาน ก็ลวนแล้วแต่มีสารเคมีมาเกี ยวข้องทั%งนั%น ดังนั%นเมื อทุ กคนหลี กเลี ยงสาร ้ เหล่านี%ไม่ได้ก็ยอมเจอปั ญหาโรคต่างๆ โดยเฉพาะผูทีต้องเผชิญกับสารเคมีทุกๆวันในขณะทีเรา ล้างจาน จาก ่ ้ ความสําคัญนี% ทางผูจดทําจึงได้จดตั%งทําโครงงาน เรื อง สาวใช้ไฮเทค เพือทีเราจะสามารถลดอัตราการเผชิ ญ ้ั ั กับสารเคมีในขณะทีล้างจาน อีกทั%งยังเป็ นการนําสิ งทีเราไม่ใช่แล้ว คือ ขี%เถ้า นํากลับมาใช้อีกครั%ง และยังเป็ น การนําทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ วัตถุประสงค์ 1.เพือศึกษาวิธีการทํา นํ%ายาล้างจานจากขี%เถ้า 2.นําสิ งทีเราไม่ใช้แล้วกลับมาใช้อีกครั%งและเป็ นประโยชน์ลดการเสี ยงการใช้สารเคมีในขณะทีล้างจาน ปัญหา ขี%เถ้า สามารถนํามาทําเป็ นนํ%ายาล้างจานได้ สมมติฐาน ขี%เถ้า สามารถนํามาทํานํ%ายาล้างจานได้ และลดอัตราการเผชิ ญการใช้สารเคมีในขณะทีล้างจาน ตัวแปรทีต้ องศึกษา ตัวแปรต้น ขี%เถ้า ตัวแปรตาม นํ%ายาล้างจาน ตัวแปรควบคุม มะนาว นํ%า กระดาษลิตมัส ระยะเวลา
  • 3. ระยะเวลา ตั%งแต่วนที 1 กุมภาพันธ์ 2556 - 21 กุมภาพันธ์ 2556 ั งบประมาณ 120 บาท ขอบเขตการศึกษา นํ%ายาล้างจาน คือ นํ%ายาทีทํามาจาก ขี%เถ้า
  • 4. บทที 2 เอกสารอ้ างอิง ขีเ4 ถ้ า ลักษณะขี4เถ้ าหลังเผา ลักษณะของขี%เถ้าหลังจากเผาจะมี ลกษณะเป็ นทั%งผงสี เทาดําและเป็ นก้อนตาม ั ลักษณะพืชทีนํามาเผา โซเดียมคาร์ บอเนต หรื อ โซดา แอช สู ตรเคมี คือ Na2CO3 เป็ นสารประกอบเกลื อของกรดคาร์ บอนิ ก มี ลักษณะเป็ นผงสี ขาว ไม่มีกลิ น สามารถดูดความชื% นจากอากาศได้ดี ละลายได้ในนํ%า มีฤทธิ" เป็ นด่างแก่เมือ ละลายนํ%า ละลายได้เล็กน้อยในแอลกอฮอล์ พบในขี% เถ้าของพืชหลายชนิ ดและสาหร่ ายทะเล (จึ งได้ชือว่า โซดา แอช เนื องจาก แอช ในภาษาอังกฤษ หมายถึ ง ขี%เถ้า) เป็ นสารเคมี ทีใช้ใ นอุ ตสาหกรรมหลายชนิ ด เช่น แก้ว เซรามิคส์ กระดาษ ผงซักฟอก สบู่ การแก้ไขนํ%ากระด้าง โซเดี ยมคาร์ บ อเนต พบได้ในธรรมชาติ ในเขตแห้งแล้ง โดยเฉพาะอย่างยิงในแหล่ งแร่ ที เกิ ดจาก ทะเลสาบที ระเหยแห้งไป ในสมัยอี ยิปต์โบราณ มี การขุดแร่ ทีเรี ยกว่า เนทรอน (natron) (ซึ งเป็ นเกลื อที ประกอบด้วยโซเดียมคาร์ บอเนต (หรื อ โซดา แอช) และโซเดียมไบคาร์ บอเนต (เบกกิ%ง โซดา) และมีโซเดียม คลอไรด์ (เกลื อแกง) และโซเดี ย มซัล เฟต ปนอยู่เล็ กน้อย) จากก้นทะเลสาบที แห้ง ใกล้แม่ น% ําไนล์ และ นํามาใช้ในการทํามัมมี ใน ปี พ.ศ. 2481 (ค.ศ. 1938) พบแหล่งแร่ โซเดี ยมคาร์ บอเนตขนาดใหญ่ใกล้แม่น% า ํ กรี นริ เวอร์ มลรัฐไวโอมิง สหรัฐอเมริ กา ทําให้สหรัฐขุดแร่ มาใช้แทนการผลิตทางกรรมวิธีทางเคมี ในประเทศอืน ๆ การผลิ ตโซเดียมคาร์ บอเนตทําโดยกรรมวิธีทางเคมีทีเรี ยกว่า กระบวนการโซลเวย์ (Solvay process) ซึ งค้นพบโดย เออร์ เนส โซลเวย์ นักอุตสาหกรรมเคมีชาวเบลเยียม ในปี พ.ศ. 2404 (ค.ศ. 1861) โดยเปลี ยน โซเดียมคลอไรด์ (นํ%าเกลื อ) เป็ น โซเดี ยมคาร์ บอเนต โดยใช้ แอมโมเนี ย และ แคลเซี ยม คาร์ บอเนต (หิ นปูน) และสารที เหลื อจากกระบวนการมี เพียง แคลเซี ยมคลอไรด์ ซึ งไม่เป็ นพิษแม้ว่าอาจ ก่อให้เกิดความระคายเคืองได้ และ แอมโมเนี ยนั%นยังสามารถนํากลับมาใช้ได้อีก ทําให้กระบวนการโซลเวย์ มีตนทุนการผลิ ตทีตํากว่ากรรมวิธีแบบเดิ มมาก จึงถูกนํามาใช้ในอุตสาหกรรมการผลิ ตโซเดี ยมคาร์ บอเนต ้ อย่างแพร่ หลาย ในคริ สต์ศตวรรษ 1900 โซเดี ยมคาร์ บอเนต 90% ที ผลิ ต ใช้วิธีการนี% และยังคงใช้อยู่ใน ปั จจุบน ั เดิ มนั%นการผลิ ตโซเดี ยมคาร์ บอเนตทําโดยกระบวนเคมี ทีเรี ยกว่า กระบวนการเลอบลังก์ (Leblanc process) ซึ งค้นพบโดยนักเคมี ชาวฝรังเศส ชื อ นิ โคลาส เลอบลังก์ ในปี พ.ศ. 2334(ค.ศ. 1791) โดยใช้ โซเดี ยมคลอไรด์ (เกลือแกง) กรดซัลฟูริก (กรดกํามะถัน) แคลเซี ยมคาร์ บอเนต (หิ นปูน) และถ่าน แต่กรด
  • 5. ไฮโดรคลอริ ค (กรดเกลื อ) ทีเกิ ดจากกระบวนการนี% ทําให้เกิ ดมลพิษทางอากาศ และแคลเซี ยมซัลไฟด์ ที เหลือจากกระบวนการทําให้เกิดปั ญหาต่อสิ งแวดล้อม แต่เนืองจากโซเดียมคาร์ บอเนตเป็ นสารเคมีพ%ืนฐานใน อุตสาหกรรมหลายชนิ ด ทําให้มีการผลิตโซเดี ยมคาร์ บอเนตโดยกรรมวิธีน% ี และเป็ นกรรมวิธีหลักมาจนถึ ง ช่วงปี พ.ศ. 2423 - 2433 (ช่วง ค.ศ. 1880 - 1890) หลังการค้นพบกระบวนการโซลเวย์ กว่า 20 ปี โรงงานผลิต แคลเซี ยมคาร์ บอเนตทีใช้กระบวนการ เลอบรังค์แห่งสุ ดท้ายปิ ดลงในช่วงปี พ.ศ. 2463 (ค.ศ. 1920) ข้ อระวัง • การกลืนหรื อกิน อาจทําให้เกิดความระคายคอ วินเวียนศีรษะ • การหายใจ สู ดดม ก่อให้เกิดอันตราย ควรหลีกเลียง โดยเฉพาะอย่างยิงการได้รับเป็ นเวลานาน • การสัมผัสทางผิวหนัง ก่อให้เกิดความระคายเคือง อาจเกิดอาการแสบไหม้ หากเข้าตา จะเกิดอาการ ระคายเคืองอย่างรุ นแรง เป็ นอันตราย ประโยชน์ ใช้ทาความสะอาดภาชนะหรื อเครื องใช้ในครัว ํ อาการเมือเป็ นพิษ ความเป็ นพิษของสารนี% ต่อมนุ ษย์จดว่าเป็ นพิษน้อย โดยทัวไปอาจก่อให้เกิ ดอาการระคายเคืองต่อ ั ผิวหนัง หรื อตาได้เล็กน้อย ในการทดลองการก่อการระคายเคืองของสารนี% ต่อผิวหนังและตาในกระต่าย พบว่าสารนี% สามารถก่อให้เกิ ดการระคายเคืองทีตาได้ในความเข้มข้น 5% ส่ วนทีผิวหนังต้องใช้ในความ เข้ม ข้นที สู งประมาณ 47-50% ส่ วนความเป็ นพิ ษเมื อรั บ ประทานนั%น ต้องได้รับ สารนี% ในความเข้มข้น มากกว่า 65%3 และจากการทดลองในหนูพบว่าปริ มาณสารมากทีสุ ดทียังปลอดภัยเมือรับประทาน คือ 85 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมต่อวัน4 อาการเป็ นพิษทีพบได้ในหนูจะพบความผิดปกติ ดังนี% เดินโซเซ ขนตั%งชัน การ หายใจลดลง ง่วงซึ ม หนังตาตก ท้องเสี ย เป็ นต้น การวินิจฉัย กรณี รับประทาน หากรับประทานในปริ มาณไม่มากจะไม่พบอาการผิดปกติ แต่เมือได้รับใน ปริ มาณมากอาจมีอาการเจ็บปากและลิ%น คลืนไส้อาเจียนท้องเสี ยกรณี เข้าตา ทําให้รู้สึกระคายเคือง ปวดแสบ ทีตา
  • 6. การปฐมพยาบาล กรณี รับประทาน ห้ามทําให้อาเจียน ให้รีบดืมนํ%าหรื อนมมาก ๆ เพือลดการดูดซึ ม แล้วรี บนําผูป่วย ้ ส่ งแพทย์ทนที ั กรณี เข้าตา ให้รีบล้างตาด้วยนํ%ามาก ๆ จนอาการระคายเคืองตาหายไป หากไม่ดีข% ึนควรนําผูป่วยพบ ้ แพทย์ นํา 4 นํ4า เป็ นของเหลวชนิ ดหนึ ง ที มี อยู่มากที สุ ดบนผิวโลก และเป็ นปั จจัยสําคัญต่อการดํา รงชี วิตของ สิ งมี ชีวิตทุ กชนิ ดที มนุ ษย์รู้จก เราสามารถพบนํ%าได้ในหลายๆ สถานที อาทิ ทะเล ทะเลสาบ แม่น% า ห้วย ั ํ หนอง คลอง บึง และในหลายๆ รู ปแบบ เช่น นํ%าแข็ง หิ มะ ฝน ลูกเห็บ เมฆ และไอนํ%า นํ%ามีรูปแบบและสถานะเป็ นของเหลว แต่น% าก็ยงมีในรู ปของสถานะของแข็งทีเรี ยกว่านํ%าแข็ง และ ํ ั สถานะแก๊สทีเรี ยกว่าไอนํ%า นํ%าปริ มาณประมาณ 1.460 เพตะตัน ปกคลุ ม 71% บนพื%นผิวโลก ส่ วนมากใน มหาสมุ ท รและในแหล่ ง นํ%า แห่ ง ใหญ่ ท วไป นํ%า 1.6% อยู่ภายใต้หินหรื อพื% นดิ นที ยัง มี น% า แข็ง อยู่ และอี ก ั ํ ่ 0.001% อยูในอากาศในรู ปแบบของไอนํ%าและก้อนเมฆซึ งเป็ นลักษณะของส่ วนของของแข็งและของเหลว ลอยอยู่บ นอากาศและเกิ ด การตกตะกอน[1] นํ%า บนโลกบางส่ วนถู ก บรรจุ ล งในสิ งของต่ า ง ๆ ที เกิ ดโดย ธรรมชาติและทีมนุ ษย์สร้ างขึ%นบนโลก อย่างเช่ น อ่างเก็บนํ%า ในร่ างกายของสัตว์และพืช ผลิ ตภัณฑ์ต่าง ๆ และร้านอาหาร นํ%าในมหาสมุ ทรมีอยู่มากถึ ง 97% ของพื%นผิวนํ%าทั%งหมดบนโลก ธารนํ%าแข็งและนํ%าแข็งขั%วโลกอี ก 2.4% และที เหลื อคื อนํ%า ที อยู่บนพื%นดิ นเช่ น แม่ น% า ทะเลสาบ บ่ อนํ%า อี ก 0.6% นํ%าเคลื อนที อย่า งต่ อเนื อง ํ ผ่านวัฏจักรของการกลายเป็ นไอหรื อการคายนํ%า การตกลงมาเป็ นฝน และการไหลของนํ%าซึ งโดยปกติจะไหล ไปสู่ ท ะเล ลมเป็ นตัวพาไอนํ%า ผ่านหนื อพื% นดิ นในอัตราที เท่า ๆ กันเช่ นเดี ยวกับ การไหลออกสู่ ทะเล นํ%า บางส่ วนถูกกักขังไว้เป็ นเวลาหลายยุคหลายสมัยในรู ปแบบของนํ%าแข็งขั%วโลก ธารนํ%าแข็ง นํ%าทีอยู่ตามหิ น หรื อดิ น หรื อในทะเลสาบ บางครั%งอาจมีการหานํ%าสะอาดมาเลี%ยงสิ งมีชีวิตบนพื%นดิ น นํ%าใสและสะอาดนั%น เป็ นสิ งจําเป็ นต่อมนุษย์และสิ งมีชีวตอืน ๆ ิ นํ%า มี ส มบัติเป็ นตัวทําละลายที ดี ม าก เราจึ ง ไม่ ค่อยพบนํ%า บริ สุท ธิ" ในธรรมชาติ ดังนั%นนํ%า สะอาดที เหมาะสมต่อการบริ โภคของมนุ ษย์จึงเป็ นทรัพยากรทีมีค่ายิง ในบางประเทศปั ญหาการขาดแคลนนํ%าเป็ น ปั ญหาใหญ่ทีส่ งผลกระทบต่อสังคม และเศรษฐกิจของประเทศนั%นอย่างกว้างขวาง
  • 7. การตกกระแทกของหยดนํา 4 นํ%ามีหลายรู ปแบบ เช่ น ไอนํ%าและเมฆบนท้องฟ้ า คลื นและก้อนนํ%าแข็งในทะเล ธารนํ%าแข็งบนภูเขา นํ%าบาดาลใต้ดิน ฯลฯ นํ%าเปลียนแปลงรู ปแบบ สถานะ และสถานทีของมันตลอดเวลา โดยผ่านกระบวนการ กลายเป็ นไอ ตกลงสู่ พ%ืนดิ น ซึ ม ชะล้าง และไหล ก่อให้เกิ ดการหมุนเวียนของนํ%าบนผิวโลกเรี ยกว่าวัฏจักร ของนํ%า เนื องจากการตกลงมาของนํ%ามีความสําคัญอย่างยิงต่อการเกษตรและต่อมนุ ษย์โดยทัวไป มนุ ษย์จึง เรี ยกการตกลงมาของนํ%าแบบต่างๆ ด้วยชือเฉพาะตัว ฝน ลูกเห็บ หมอก และนํ%าค้างเป็ นการตกลงมาของนํ%าที พบได้ทวโลก แต่หิมะและนํ%าค้างแข็งมีเฉพาะในประเทศเขตหนาว รุ ้งเป็ นปรากฏการณ์ทีเกิดขึ%นเมือละออง ั นํ%าในอากาศต้องแสงอาทิตย์ในมุมทีเหมาะสม นํ%ามีความสําคัญต่อมนุ ษย์ไม่แพ้การตกลงมาของนํ%า มนุ ษย์ใช้การชลประทานผันนํ%าจากแม่น% าและ ํ แหล่ งนํ%าจื ดอื นๆ มาใช้ในการเกษตร แม่น% าและทะเลเป็ นเส้ นทางคมนาคมสําคัญที เปิ ดโอกาสมนุ ษย์ไ ด้ ํ ท่องเทียวและทําการค้าขาย การชะล้างและการกัดกร่ อนพื%นดินของนํ%าทําให้เกิดภูมิประเทศ อาทิ หุ บเขาและ สามเหลี ยมปากแม่น% า ซึ งเป็ นทีราบทีมีดินอุ ดมสมบูรณ์ เหมาะสมแก่การเพาะปลูกและการตั%งถิ นฐานของ ํ มนุษย์ นํ%ายังซึ มผ่านดินลงสู่ ทางนํ%าใต้ดิน นํ%าใต้ดินเหล่านี% จะไหลกลับไปอยูเ่ หนื อพื%นดินทางธารนํ%า หรื อใน บางภูมิประเทศเป็ นธารนํ%าร้อนหรื อนํ%าพุร้อน มนุษย์รู้จกนํานํ%าใต้ดินมาใช้โดยการสร้างบ่อนํ%า ั เนื องจากนํ%าเป็ นตัวทําละลายพื%นฐาน สามารถละลายสารได้ ทั%ง 3 สถานะ ทั%ง ก๊าซ ของเหลว และ ของแข็ง เพราะฉะนั%นเราจึ งหานํ%าบริ สุทธิ" ได้ยาก เพราะนํ%าทัวไปมี ก๊าซ เกลื อ และสารอื นๆละลายปนอยู่ ส่ วนมากทีพบคือ ออกซิ เจน คาร์ บอนไดออกไซด์ โซเดี ยมคลอไรด์ ซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ ฯ นํ%าจากแหล่ ง ่ ต่างๆ จึงมีสี กลิน และรสต่างกันไป เพือความอยูรอด มนุ ษย์และสัตว์ได้พฒนาประสาทสัมผัสเพือแยกแยะ ั นํ%าทีดื มได้และดื มไม่ได้ ยกตัวอย่างเช่ น สัตว์บกส่ วนมากจะไม่ดืมนํ%าทะเลทีมีรสเค็มและนํ%าในบึงทีมีกลิน เน่าเหม็น แต่จะชอบนํ%าบริ สุทธิ"ทีมาจากนํ%าพุหรื อทางนํ%าใต้ดิน คุณสมบัติทางเคมีและฟิ สิ กส์ ่ นํ%าเป็ นสารเคมีชนิ ดหนึ งทีเขียนสู ตรเคมีได้วา H2O: นํ%า 1 โมเลกุลประกอบด้วยไฮโดรเจน 2 อะตอม สร้างพันธะโควาเลนต์รอบออกซิ เจน 1 อะตอม คุณสมบัติหลักทางเคมีและฟิ สิ กส์ ของนํา 4
  • 8. นํ%าเป็ นของเหลวทีไม่มีรส ไม่มีกลิน ใสไม่มีสี ทีอุณหภูมิและความดันปกติ นํ%าแข็งก็ดูไม่มีสีเช่นกัน และ สําหรับนํ%าในสถานะแก๊สนั%นโดยปกติเราจะมองไม่เห็นมันเลย • ่ นํ%าเป็ นของเหลวโปร่ งใส ดังนั%นพืชนํ%าจึงสามารถอยูในนํ%าได้เพราะมีแสงสว่างส่ องมันอย่างทัวถึง จะมี เพียงแสงอุลตร้าไวโอเลตและอินฟราเรดเท่านั%นทีจะถูกนํ%าดูดซับเอาไว้ • นํ%ามีสถานะเป็ นของเหลวในสภาวะปกติ • นํ%า เป็ นโมเลกุล มี ข% ว เพราะว่าออกซิ เจนมี ค่า อิ เล็ ก โทรเนกาติ วิตี (Electronegativity: EN) สู งกว่า ั ไฮโดรเจน ออกซิ เจนมีข% วลบ ในขณะทีไฮโดรเจนมีข% วบวก แสดงว่านํ%าเป็ นโมเมนต์ข% วคู่ ปฏิกิริยาระหว่างขั%ว ั ั ั ของแต่ละโมเลกุลเป็ นเหตุให้เกิดแรงดึงดูดทีเชือมโยงกับมวลรวมของนํ%าของความตึงผิว • แรงยึดเหนียวสําคัญอืน ๆ ทีทําให้โมเลกุลของนํ%าเสี ยบเข้าสู่ อีกอันหนึงเรี ยกว่าพันธะไฮโดรเจน • ่ ั จุดเดือดของนํ%า (รวมถึงของเหลวอืน ๆ) ขึ%นอยูกบความกดดันของบรรยากาศ ตัวอย่างเช่น บนยอดเขาเอ เวอเรสต์ นํ%าจะเดือดทีอุณหภูมิ 68 องศาเซลเซี ยส เปรี ยบเทียบกับ 100 องศาเซลเซี ยสทีระดับนํ%าทะเล ในทาง กลับกัน เขตนํ%าลึกในมหาสมุทรใกล้รอยแตกของเปลื อกโลกเนื องจากภูเขาไฟระเบิด อุณหภูมิอาจขึ%นเป็ น หลายร้อยองศาและยังคงสถานะเป็ นของเหลวเหมือนเดิม • นํ%า จะไหลเข้า หาตัวมันเอง นํ%า มี ค่ า ความตึ ง ผิวสู ง ซึ งเกิ ด จากการประสานกันอย่า งแข็ ง แรงระหว่า ง โมเลกุ ล ของนํ%า เพราะว่า มันมี ข% ว ความยืดหยุ่นที เห็ นได้ชัดเกิ ดจากค่ า ความตึ ง ผิวคอยควบคุ ม ให้ค ลื นมี ั ลักษณะเป็ นพริ% ว • นํ%ามีข% วแม่เหล็กจึงมีคุณสมบัติการยึดติดสู ง ั • การแทรกซึ มของนํ%าตามรู เล็กกล่าวถึงแนวโน้มของนํ%าทีจะไหลอยู่ในหลอดเล็ก ๆ ซึ งต้านกับแรงโน้ม ถ่วง คุณสมบัติน% ีถูกพึงพาโดยพืชสี เขียวเช่นต้นไม้ • ่ นํ%าเป็ นตัวทําละลายทีดี เรี ยกได้วานํ%าเป็ น ตัวทําละลายสากล สามารถละลายสสารได้หลายชนิ ด สสารที ละลายกับนํ%าได้ดี เช่น เกลือ นํ%าตาล กรด ด่าง และแก๊สบางชนิ ด โดยเฉพาะออกซิ เจน คาร์ บอนไดออกไซด์ เรี ยกว่า ไฮโดรฟิ ลิ ก หรื อสสารที ชอบนํ%า ขณะที สสารที ละลายนํ%าได้น้อยหรื อไม่ได้เลย เช่ น ไขมัน และ นํ%ามัน เรี ยกว่า ไฮโดรโฟบิก หรื อสสารทีไม่ชอบนํ%า • ทุกองค์ประกอบทีสําคัญในเซลล์ (โปรตีน ดีเอ็นเอ และ โพลีแซคคาไรด์) จะละลายได้ในนํ%า • นํ%าบริ สุทธิ" มีค่าการนําไฟฟ้ าทีตํา แต่ค่านี% จะเพิมขึ%นอย่างมีนยสําคัญกับปริ มาณของสารประกอบไอออ ั นิก เช่น โซเดียมคลอไรด์ ทีละลายอยูในนํ%า ่ • นํ%ามีค่าความร้อนจําเพาะสู งเป็ นอันดับ 2 ในบรรดาสสารทีรู ้ จก รองจากแอมโมเนี ย อีกทั%งยังมีค่าความ ั ร้อนแฝงของการกลายเป็ นไอสู งเช่ นกัน (40.65 กิโลจูลต่อโมล) ซึ งทั%งสองคุณสมบัติน% ีเป็ นผลมาจากพันธะ ไฮโดรเจนครอบคลุ มเป็ นบริ เวณกว้างระหว่างโมเลกุล คุ ณสมบัติทีไม่ธรรมดา 2 ประการนี% ช่วยทําให้น% า ํ บรรเทาความรุ นแรงของสภาพภูมิอากาศบนโลกได้โดยการดูดซับอุณหภูมิทีผันผวนอย่างมากเอาไว้
  • 9. ภาวะทีนํ%ามีความหนาแน่นสู งทีสุ ดคือทีอุณหภูมิ 3.98 องศาเซลเซี ยส[2] เป็ นคุณสมบัติทีไม่ปกติทีมีความ หนาแน่นลดลงไม่ใช่เพิมขึ%นของนํ%าเมือได้รับความเย็นจนเปลียนเป็ นสถานะของแข็ง (กลายเป็ นนํ%าแข็ง) ใน สถานะของแข็งนี%จะมีปริ มาตรเพิมขึ%น 9% ซึ งเป็ นสาเหตุของข้อเท็จจริ งทีนํ%าแข็งลอยนํ%าได้ • สามารถแยกนํ%าออกเป็ นไฮโดรเจน และออกซิ เจน ได้โดยวิธีอิเล็กโตรไลสี ส • สารบางชนิด เช่น โซเดียม ลิเทียม แคลเซี ยม โพแทสเซี ยม เป็ นต้น เมือถูกนํ%าจะปล่อยแก๊สไวไฟออกมา หรื อมีปฏิกิริยาอย่างรุ นแรงกับนํ%า กระดาษลิตมัส อินดิเคเตอร์ คือ สารทีใช้ทดสอบความเป็ นกรด เบสของสารต่าง ๆ และสี ของสารนี% จะเปลียนไปเมือ ค่าความเป็ นกรด – เบสเปลียนไป กระดาษลิตมัส ซึ งมี 2 สี คือ กระดาษลิตมัสสี น% าเงินและสี แดงเมือทดสอบกับดินจะเกิดการเปลียนแปลงดังนี% ํ - ดินเป็ นกรดจะเปลียนกระดาษลิตมัสสี น% าเงินเป็ นสี แดงแต่สีแดงไม่เปลียนแปลง ํ - ดินเป็ นเบสจะเปลียนกระดาษลิตมัสสี น% าเงินเป็ นสี แดงแต่สีแดงไม่เปลียนแปลง ํ - ดินเป็ นกลาง จะไม่เปลียนสี กระดาษลิตมัสทั%งสี น% าเงินและสี แดง ํ มะนาว ในผลมะนาวมีน% ามันหอมระเหยถึง 7% แต่กลินไม่ฉุนอย่างมะกรู ด นํ%ามะนาวจึงมีประโยชน์สําหรับ ํ ใช้เป็ นส่ วนผสมนํ%ายาทําความสะอาด เครื องหอม และการบําบัดด้วยกลิน (aromatherapy) หรื อนํ%ายาล้างจาน ส่ วนคุ ณสมบัติทีสําคัญ ทว่าเพิงได้ทราบเมือไม่ชานานมานี% (ราวคริ สต์ศตวรรษที 2) ก็คือ การส่ งเสริ มโรค ้ ลักปิ ดลักเปิ ด ซึ งเคยเป็ นปั ญหาของนักขายโรตีมาช้านาน ภายหลังได้มีการค้นพบว่าสาเหตุทีมะนาวสามารถ ช่วยป้ องกันโรคลักปิ ดลักเปิ ด เพราะในมะนาวมีไวตามินซี เป็ นปริ มาณมาก มะนาวมี ส่ วนประกอบของสารซิ โตรเนลลัล (Citronellal) ซิ โครเนลลิ ล อะซี เตต (Citronellyl Acetate) ไลโมนี น (Limonene) ไลนาลูล (Linalool) เทอร์ พีนีออล (Terpeneol) ฯลฯ รวมทั%งมีกรดซิ ตริ ค (Citric Acid) กรดมาลิค (Malic Acid) และกรดแอสคอร์ บิก (Ascorbic Acid) ซึ งถือเป็ นกรดผลไม้ (AHA : Alpha Hydroxy Acids) กลุ่มหนึง เป็ นทียอมรับว่าช่วยให้ผิวหน้าทีเสื อมสภาพหลุดลอกออกไป พร้อมๆ กับ ช่วยกระตุนการสร้างเซลล์ใหม่ๆ ช่วยให้รอยด่างดําหรื อรอยแผลเป็ นจางลง ้
  • 10. ความเป็ นกรด – เบส ั กรด (Acid) หมายถึง สสารทีปล่อยประจุไฮโดรเนี ยม (H3O+) ให้กบสารละลาย ตัวอย่างเช่น เมือ ผสมนํ%ากับกรดเกลือ ทําให้เกิด ประจุไฮโดรเนียม และประจุแคลเซี ยม ตามสู ตร H2O + HCl -> (H3O+) + Cl- สสารทีเป็ นกรด ได้แก่ กรดกํามะถัน (H2SO4) นํ%าส้มสายชู (CH3COOH) ั เบส (Base) หมายถึ ง สสารทีปล่อยประจุ ไฮดรอกไซด์ (OH-) ให้กบสารละลาย ตัวอย่างเช่ น โซเดียมไฮดรอกไซด์ เมือแตกตัวจะให้ประจุไฮดรอกไซด์ ตามสู ตร NaCL -> Na+ + OH- เมือโลหะไฮดรอก ไซด์ละลายนํ%า มันจะปล่อยประจุไฮดรอกไซด์ออกมา เราเรี ยกว่า “ด่าง” (Alkali) สสารทีเป็ นเบส ได้แก่ ปูนซี เมนต์ (CaO) แอมโมเนีย (NH3) ในการวัดความเป็ น กรด – เบส ในสารละลายนั%น เราใช้คาว่า “pH” เป็ นตัวบ่งชี% ตัว p ย่อมาจาคําว่า power ํ ซึ งมีความหมายในเชิงยกกําลัง ส่ วน H นั%นหมายถึง ความเข้มของประจุไฮโดรเจน pH มีค่าเป็ นตัวเลขตั%งแต่ 0 – 14 สารประกอบทีมีค่า pH 5 มีประจุไฮโดรเจนมากกว่า สารประกอบทีมีค่า pH 6 ถึง 10 เท่า นํ%าบริ สุทธิ" มีค่า pH เป็ นกลางอยูที pH 7 นั%นหมายถึง นํ%า 1 ลิตร ทีอุณหภูมิ 25°C มีประจุไฮโดรเจน และประจุ ไฮดรอก ่ ่ํ ไซด์ อยูจานวนเท่ากันคือ 1 x 10 –7 โมล pH มีค่าน้อย แสดงว่า สารประกอบนั%นมีความเป็ นกรดสู ง เช่น นํ%ามะนาวมี pH = 2.3 pH มีค่ามาก แสดงว่า สารประกอบนั%นมีความเป็ นเบสสู ง เช่น นํ%ายาทําความสะอาดพื%นมี pH = 13 สิ งมีชีวิตในนํ%าส่ วนมากมักอาศัยอยูในนํ%าทีมีค่า pH 6.5 – 9 โดยปกติน% าฝนตามธรรมชาติจะมีความ ่ ํ เป็ นกรดเล็กน้อย เนืองจากการละลายก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ในอากาศ แต่ทว่าในเขตอุตสาหกรรมทีมีการ ปล่อยก๊าซเสี ยออกมา จะทําให้เกิดสภาวะฝนกรด นํ%าฝนทีสะสมอยูในแหล่งนํ%าทําให้ค่า pH ตําลง เมือ pH ตํา ่ กว่า 5.5 ปลาจะตายหมด เมือ pH มีค่าตํากว่า 4 จะไม่มีสิงมีชีวิตใดทนทานได้เลย การศึกษาความเป็ นกรด – เบส ของนํ%าจึงมีความสําคัญมากต่อการประมงและการเกษตร
  • 11. บทที 3 อุปกรณ์ และวิธีการทดลอง วัสดุอุปกรณ์ 1. ขี%เถ้า 6 ถ้วย 2. นํ%าเปล่า 12 ถ้วย 3. นํ%ามะนาวแท้ ¼ ถ้วย 4. ผ้ากรอง / ตะแกรงกรองสิ งสกปรก 1 ผืน 5. กระดาษวัดค่า Ph 12 แผ่น แผนการดําเนินงาน วัน / เดือน / ปี ขั4นตอนการดําเนินงาน 2 กุมภาพันธ์ 2556 - กําหนดหัวข้อ/หัวเรื องทีต้องการศึกษา 5 กุมภาพันธ์ 2556 - นําหัวข้อโครงงานไปขอคําปรึ กษาจากครู ทีปรึ กษา 8 กุมภาพันธ์ 2556 - ศึกษา ค้นคว้า หาข้อมูล รายละเอียดทีเกียวข้องกับ โครงงาน 9 กุมภาพันธ์ 2556 - แบ่งงานให้สมาชิกทุกคนในกลุ่ม 17 กุมภาพันธ์ 2556 - ทํานํ%ายาล้างจานจากขี%เถ้า 18 กุมภาพันธ์ 2556 - สรุ ปผลการทํานํ%ายาล้างจานจากขี%เถ้า 20 กุมภาพันธ์ 2556 - จัดทําเป็ นรู ปเล่มโครงงาน
  • 12. วิธีทาการทดลอง ํ 1. ใช้น% า6 ถ้วย ผสมกับขี%เถ้า 4 ช้อนโต๊ะ ส่ วนคนให้เข้ากัน ปิ ดฝาทิ%งไว้ 3 วัน ํ 2. ขี%เถ้าจะตกตะกอน ค่อยๆเทนํ%าส่ วนทีใส ใส่ ผากรอง ้ 3. นํานํ%าขี%เถ้าทีกรองแล้ว ผสมกับนํ%ามะนาว คนให้เข้ากัน ใช้กระดาษวัดค่า PH ให้ได้ค่าเป็ น กลาง 4. นํานํ%ายาล้างจานจากขี%เถ้ามาทดสอบกับจานทีมีคราบต่างๆทีเกิดจากเศษอาหาร แล้วสังเกตผลว่า จาน มีลกษณะทีเปลียนแปลงขึ%นหรื อไม่ หากเปลียนแปลงแสดงว่าขี%เถ้ามีประสิ ทธิ ภาพในการล้างจานจริ ง ั
  • 13. บทที 4 ผลการทดลอง ตารางการทดลอง คราบจากเศษอาหาร ผลการทดลอง คราบไขมันจากไข่ เจียว - จานใสขึน คราบไขมันลดลง เมือสั งเกตจากครั4งแรกทียังไม่ ได้ ล้าง 4 คราบครีมจากเค้ ก - จานใสขึน คราบครีมลดลง เมือสั งเกตจากครั4งแรกทียังไม่ ได้ ล้าง 4 คราบอืนๆ เช่ น คราบทีจาก หม้ อต้ มแกง คราบทีติดจาก - ภาชนะใสขึน คราบลดลง เมือสั งเกตจากครั4งแรกทียังไม่ ได้ ล้าง 4 กระทะทีผัด เป็ นต้ น
  • 14. บทที 5 อภิปรายผลการทดลอง อภิปรายผลการทดลอง การทดลองครั%งที 1 เมือล้างคราบไขมันในจาน ผลปรากฏว่าจานใสขึ%น คราบไขมันลดลง จากการ สังเกตครั%งแรกทียังไม่ได้ลาง ้ การทดลองครั%งที 2 เมือล้างคราบครี มในจาน ผลปรากฏว่าจานใสขึ%น คราบครี มลดลง เมือสังเกต จากครั%งแรกทียังไม่ได้ลาง ้ การทดลองครั%งที 3 เมือล้างคราบอืนๆ เช่น คราบทีจากหม้อต้มแกง คราบทีติดจากกระทะทีผัด เป็ นต้นในจาน ผลปรากฏว่าจานใสขึ%น คราบลดลง เมือสังเกตจากครั%งแรกทียังไม่ได้ลาง้ จาการทดลองผลปรากฏว่า จากการใช้น% ายาล้างจานจากขี%เถ้าช่วยชะล้างคราบทีติดตามภาชะต่างๆ ํ ทีเกอดจากการต้ม การผัด การทอด เป็ นต้น ได้ดีกว่าการล้างคราบทีติดจานมากกว่า สรุ ปผลการทดลอง จากาการทดลองสามารถสรุ ปได้ว่าเมื อขี% เถ้าทําปฎิ กิริยากับมะนาวจะทําให้ค่าที ได้มีสมบัติเป็ น กลาง อีกทั%งยังมีประสิ ทธิ ภาพทีช่วยในการชะล้าง คราบต่างๆทั%ง คราบไขมัน ครี ม หรื อคราบทีเกิดจากการ ต้ม ผัด ในกระทะ หม้อ เพราะในขี%เถ้ามีสารทีเรี ยกว่า Na2CO3 เป็ นสารประกอบเกลือของกรดคาร์ บอนิ ก มี ลักษณะเป็ นผงสี ขาว ไม่มีกลิ น สามารถดูดความชื% นจากอากาศได้ดี ละลายได้ในนํ%า มีฤทธิ" เป็ นด่างแก่เมือ ละลายนํ%า ละลายได้เล็กน้อยในแอลกอฮอล์ มีประโยชน์ในการทําความสะอาดภาชนะภายในครัวเรื อนและ เมือทําปฏิกิริยากับมะนาวซึ งมี ส่ วนประกอบของสารซิ โตรเนลลัล ซิ โครเนลลิล อะซี เตต ไลโมนี น ไลนาลูล เทอร์ พีนีออล รวมทั%งมี กรดซิ ตริ ค กรดมาลิ ค และกรดแอสคอร์ บิก ซึ งถื อเป็ นกรดผลไม้ ที ช่ วยในการทํา ความสะอาดให้มีประสิ ทธิ ภาพมากยิงขึ%น ประโยชน์ ของการทํา สาวใช้ ไฮเทค 1.สามารถนําสิ งทีเราไม่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่อีกครั%ง 2.ได้ความรู ้เกียวกับการทํานํ%ายาล้างจาน
  • 15. ภาคผนวก 1. ภาพอุปกรณ์ ในการทํา นํายาล้ างจานจาก ขีเ4 ถ้ า 4 ขี%เถ้า มะนาว กระดาษลิตมัส ผ้ากรอง นํ%า
  • 16. 2.วิธีการทํา นํายาล้ างจานจาก ขีเ4 ถ้ า 4 เตรี ยม นํ%ามะนาว ¼ ถ้วย ขี%เถ้า 4 ช้อนโต๊ะ นํ%า 6 ถ้วย . 1.ใช้น% า 6 ถ้วย ผสมกับขี%เถ้า 4 ช้อนโต๊ะ คนให้เข้ากัน ํ 2. ขี%เถ้าจะตกตะกอน ค่อยๆเทนํ%าส่ วนทีใส ปิ ดฝาทิ%งไว้ 3 วัน ใส่ ผากรอง ้
  • 17. 3.นํานํ%าขี%เถ้าทีกรองแล้ว ผสมกับนํ%ามะนาว 4.ใช้กระดาษวัดค่า PH ให้ได้ค่าเป็ น กลาง เทใส่ ขวด ได้ สาวใช้ ไฮเทค ทีสมบูรณ์
  • 18. บรรณานุกรม - (ออนไลน์).แหล่งทีมา : www.maceducation.com/e-knowledge/2412212100/14.htm . 12 กรกฎาคม 2555. - จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี . 2555.(ออนไลน์).แหล่งทีมา : http://www.answers.com. 12 กรกฎาคม 2555. - ( ออนไลน์ ).2555.แหล่งทีมา : www.watisan.com/wizContent.asp. 15 กรกฎาคม 2555. - จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี . 2555.(ออนไลน์).แหล่งทีมา : www.il.mahidol.ac.th. 23 กรกาคม 2555.